วันพฤหัสบดีที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2551

หลักสูตรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ประวัติวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีจากหมวดวิชาวิทยาศาสตร์ของวิทยาลัยการฝึกหัดครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ได้พัฒนามาเป็นคณะวิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีในปี 2527 ตาม พ.ร.บ. วิทยาลัยครู ฉบับที่ 2 ต่อมาในปี 2538 จึงได้เปลี่ยนสถานภาพมาเป็นคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามประกาศ พ.ร.บ. สถาบันราชภัฏ ซึ่งนับได้ว่าคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาได้รับใช้สังคมไทยมาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน ด้วยการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพจำนวนมากออกไปรับใช้สังคม ปัจจุบันเปิดสอนมากกว่า 20 โปรแกรมวิชา ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก
ปรัชญา
" สร้างสรรค์งานวิจัย ใส่ใจเทคโนโลยี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม นำชาติเจริญ "
วิสัยทัศน์
เป็นผู้นำในการสร้างนักวิทยาศาสตร์ นักเทคโนโลยี และนักวิจัย ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาท้องถิ่น และสังคม
พันธกิจ
ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรม ส่งเสริมการวิจัย ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ปรับปรุง และถ่ายทอดเทคโนโลยี บริการวิชาการแก่ชุมชน และสังคม
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์



ของโปรแกรมวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทั้งหมด 6 ห้อง โดยมีการปรับปรุงทางด้านฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ให้เป็นปัจจุบันและทันสมัยเสมอ และมีอุปกรณ์อำนวยความสะดวกทั้งกับผู้เรียนและผู้สอนอย่างครบครัน และทุกห้องสามารถเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต เพื่อการสืบค้นข้อมูลและการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารได้โดยสะดวก พร้อมทั้งได้มีอินเทอร์เน็ต แบบไร้สายอยู่ทั่วบริเวณมหาวิทยาลัยไว้สำหรับคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค ของนักศึกษา ที่นำมาประกอบการศึกษาทั้งนี้อาจารย์โปรแกรมจำวิชา ทุกท่านล้วนแต่ผู้มีวิชาความรู้ครบถ้วน
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคปกติ 4 ปีโปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับปริญญาตรีหลักสูตรโปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจBachelor’s Degree Program of Business Administration in Business Computerชื่อปริญญา ชื่อเต็ม : ปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)Bachelor of Business Administration (Business Computer)ชื่อย่อ : บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)B.B.A. (Business Computer)
จุดประสงค์เฉพาะ1. เพื่อผลิตบัณฑิตด้านบริหารธุรกิจที่มีความรู้ ความสามารถ ในการบริหารธุรกิจระดับ วิชาชีพ (Professional) และนำไปประกอบอาชีพได้เป็นอย่างดี2. เพื่อผลิตบัณฑิตด้านบริหารธุรกิจที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะทางในวิชาชีพ เช่นด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การบัญชี การเงินและการธนาคาร การตลาด การบริหารอุตสาหกรรม เลขานุการ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การจัดการคุณภาพธุรกิจระหว่างประเทศ ธุรกิจบริการ สามารถประกอบอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ3. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีเจตคติที่ดี และทักษะเพียงพอที่จะดำเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนาตนเองให้มีความรับผิดชอบต่อสังคม4. เพื่อผลิตบัณฑิตที่สนองความต้องการของตลาดแรงงาน และสอดคล้องตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ5. เพื่อให้บัณฑิตสามารถนำความรู้ไปเป็นแนวทางการศึกษาในระดับสูงต่อไปโครงสร้างหลักสูตรมีหน่วยกิตการเรียนตลอดหลักสูตรในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจไม่น้อยกว่า 149 หน่วยกิต และมีสัดส่วนหน่วยกิตแต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้
1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป 33 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 9 หน่วยกิต1500101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้น 3(3-0)1500102 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและการสืบค้น 3(3-0)1500103 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและทักษะการเรียน 3(3-0)
(2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 9 หน่วยกิต1500104 ความจริงของชีวิต 3(3-0)2000102 สุรทรียภาพของชีวิต 3(3-0)2500101 พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน 3(3-0)
(3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ เรียนไม่เกิน 6 หน่วยกิต2500102 วิถีไทย 3(3-0)2500103 วิถีโลก 3(3-0)2500104 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3(3-0)
(4) กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9 หน่วยกิต4000105 วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต 3(3-0)4000106 การคิดและการตัดสินใจ 3(3-0)4000107 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต 3(2-2) 22. หมวดวิชาเฉพาะด้าน 106 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาเนื้อหา 84 หน่วยกิตบังคับเรียน 47 หน่วยกิต1541203 ภาษาไทยธุรกิจ 3(3-0)1551605 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 1 3(3-0)1551606 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 2 3(3-0)2562302 กฎหมายธุรกิจ 3(3-0)3503901 การวิจัยทางธุรกิจ 3(2-2)3504101 จริยธรรมทางธุรกิจ 3(3-0)3521101 การบัญชี 1 3(2-2)3521102 การบัญชี 2 3(2-2)3531101 การเงินธุรกิจ 3(3-0)3541101 หลักการตลาด 3(3-0)3562402 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 3(3-0)3564201 การจัดการเชิงกลยุทธ์ 2(2-0) 3592101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 3(3-0) 3592102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 1 3(3-0)3593301 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 3(3-0)4112105 สถิติธุรกิจ 3(3-0)
(2) แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 37 หน่วยกิต2.1 บังคับเรียน 18 หน่วยกิต3503201 การจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)4121103 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริทึ่ม 3(2-2)4121202 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1 3(2-2)4122201 ฐานข้อมูลเบื้องต้น 3(2-2)4122202 โครงสร้างข้อมูล 3(2-2)4122502 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1 3(2-2)2.2 เลือกเรียน ให้เลือกเรียนรายวิชาต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า 19 หน่วยกิต [เรียน 7 วิชา]3501201 การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่องานเอกสารธุรกิจ 1 3(2-2)3501202 การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่องานเอกสารธุรกิจ 2 3(2-2)3502201 ระบบสารสนเทศเพื่อการดำเนินงาน 3(2-2)3503202 การจัดการงานเลขานุการและธุรการด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)3503203 การประมวลผลการวิจัยทางธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)3504201 การจัดการของคงคลังด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)3504202 การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)3504203 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 3(2-2)3504204 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร 3(2-2)3534106 โปรแกรมประยุกต์ทางการเงิน 3(3-0) 3562104 การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2) 3563204 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 3(3-0)3564908 สัมมนาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3(2-2)4091606 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3(3-0)4121301 โปรแกรมภาษาเบสิก 1 3(2-2)4121302 โปรแกรมภาษาโคบอล 1 3(2-2) 34121401 ระบบปฎิบัติการ 1 3(2-2)4122203 การประมวลผลแฟ้มข้อมูล 3(2-2)4122304 โปรแกรมภาษาซี 3(2-2)4122401 ภาษาคอมพิวเตอร์ 3(2-2)4122602 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการสำนักงานอัตโนมัติ 3(2-2)4122603 คอมพิวเตอร์กราฟิก 3(2-2)4122606 โปรแกรมประยุกต์ด้านระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร 3(2-2)4122701 ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม 3(2-2)4123303 โปรแกรมภาษาปาสคาล 2 3(2-2)4123304 โปรแกรมภาษาแอสเซมบลี 3(2-2)4123601 โปรแกรมประยุกต์ด้านสถิติและวิจัย 3(2-2)4123603 โปรแกรมประยุกต์ด้านการเงินและการบัญชี 3(2-2)4123604 โปรแกรมประยุกต์ด้านการควบคุมสินค้า 3(2-2)4123605 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานทะเบียนบุคคลและการจ่ายเงินเดือน 3(2-2)4123611 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการธนาคาร 3(2-2)4123615 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานธุรการ 3(2-2)4123612 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3(2-2)4123607 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ 3(2-2)4123613 คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ 3(2-2)4123617 การประยุกต์ใช้งานมัลติมีเดีย 3(2-2)4123903 หัวข้อพิเศษเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 3(2-2)4124501 ปัญญาประดิษฐ์ 3(2-2)
(3) กลุ่มวิชาวิทยาการจัดการบังคับเรียน 15 หน่วยกิต3532202 การภาษีอากรธุรกิจ 3(3-0)3543101 การบริหารการตลาด 3(3-0)3561101 องค์การและการจัดการ 3(3-0)3562307 การบริหารการผลิต 3(3-0)3524301 การบัญชีเพื่อการจัดการ 3(3-0)
(4) กลุ่มวิชาปฏิบัติการและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 7 หน่วยกิต3503813 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพการบริหารธุรกิจ 3 2(90)3504804 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการบริหารธุรกิจ 3 5(350)3. หมวดวิชาเลือกเสรี 10 หน่วยกิตให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำเร็จหลักสูตรของโปรแกรมวิชานี้
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2 ปี หลังอนุปริญญาโปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับปริญญาตรี (หลังอนุปริญญา)หลักสูตรโปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจBachelor of Business Administration Program in Business Computerชื่อ ปริญญา ชื่อเต็ม : ปริญญาการบริหารธุรกิจบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)Bachelor of Business Administration (Business Computer)ชื่อย่อ : บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)B.B.A. (Business Computer)
จุดประสงค์เฉพาะ1. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถในการบริหารธุรกิจระดับวิชาชีพ (Professional) ในวิชาบริหารธุรกิจเฉพาะทาง ในวิชาการด้านต่าง ๆ ที่สามารถนำไปประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ2. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจในระบบเศรษฐกิจและสังคม สามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจ ดำเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ3. เพื่อผลิตบุคลากรที่สามารถติดตามและปรับตัวให้เข้ากับสภาพการเปลี่ยนแปลง ความก้าวหน้าในเทคโนโลยีฯ และการบริหารธุรกิจในงานอาชีพ4. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีเจตคติและค่านิยมในการประกอบอาชีพอิสระอย่างมีคุณภาพ จริยธรรม และปัญญาธรรม
โครงสร้างหลักสูตรมีหน่วยกิตการเรียนตลอดหลักสูตรในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจไม่น้อยกว่า 73 หน่วยกิต และมีสัดส่วนหน่วยกิต แต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้
1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป 18 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 3 หน่วยกิต1500103 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและทักษะการเรียน 3(3-0)
(2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกิต2500101 พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน 3(3-0)2000101 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0)
(3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ เรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต แต่ไม่เกิน 6 หน่วยกิต2500103 วิถีโลก 3(3-0)และ/หรือ2500104 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3(3-0)
(4) กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต แต่ไม่เกิน 6 หน่วยกิต4000102 การคิดและการตัดสินใจ 3(2-2)และ/หรือ4000108 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 3(2-2)2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน (แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ) 49 หน่วยกิต(1) กลุ่มวิชาเนื้อหา 35 หน่วยกิต1.1 บังคับเรียน 24 หน่วยกิต1551606 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 2 3(3-0)3503901 การวิจัยทางธุรกิจ 3(2-2)3504101 จริยธรรมทางธุรกิจ 3(3-0)3564201 การจัดการเชิงกลยุทธ์ 3(3-0)3593301 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 3(3-0)3503201 การจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2 4122502 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1 3(2-2)4121202 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1 3(2-2)1.2 เลือกเรียน ให้เลือกเรียนรายวิชาต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต3503202 การจัดการงานเลขานุการและธุรการด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)3503203 การประมวลผลการวิจัยทางธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)3504201 การจัดการของคงคลังด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)3504202 การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)3562104 การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)35694908 การสัมมนาคอมพิวเตอร์ 3(2-2)4091606 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3(3-0)4121103 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริทึ่ม 3(2-2)4121301 โปรแกรมภาษาเบสิก 1 3(2-2)4121302 โปรแกรมภาษาโคบอล 1 3(2-2)4122201 ฐานข้อมูลเบื้องต้น 3(2-2)4122202 โครงสร้างข้อมูล 3(2-2)4122203 การประมวลผลแฟ้มข้อมูล 3(2-2)4122401 ภาษาคอมพิวเตอร์ 3(2-2)4122602 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการสำนักงานอัตโนมัติ 3(2-2)4122603 คอมพิวเตอร์กราฟิก 3(2-2)4122606 โปรแกรมประยุกต์ด้านระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร 3(2-2)4122701 ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม 3(2-2)4123601 โปรแกรมประยุกต์ด้านสถิติและวิจัย 1 3(2-2)4123603 โปรแกรมประยุกต์ด้านการเงินและการบัญชี 3(2-2)4123604 โปรแกรมประยุกต์ด้านการควบคุมสินค้า 3(2-2)4123605 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานทะเบียนบุคคลและการจ่ายเงินเดือน 3(2-2)4123607 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ 3(2-2)4123611 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการธนาคาร 3(2-2)4123612 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3(2-2)4123613 คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ 3(2-2)4123615 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานธุรการ 3(2-2)4123619 การประยุกต์ใช้มัลติมีเดีย 3(2-2)4123702 ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2)4123903 หัวข้อพิเศษเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 3(2-2)4124501 ปัญญาประดิษฐ์ 3(2-2)
ข้อกำหนดเฉพาะ
1) ในกรณีเคยเรียนรายวิชาบังคับในระดับอนุปริญญาตามหลักสูตรของสถาบันราชภัฏแล้วให้เลือกเรียนรายวิชาเลือกในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจตาม 1.2 แทน2) ผู้ที่ไม่เคยเรียนรายวิชาต่อไปนี้3592101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 3592102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 13521101 การบัญชี 1 3521102 การบัญชี 24112105 สถิติธุรกิจ 3531101 การเงินธุรกิจ3541101 หลักการตลาดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวม ในเกณฑ์การสำเร็จการศึกษา3) สำหรับผู้ที่เคยสอบได้รายวิชาที่มีเนื้อหาเทียบเท่าหรือเคยสอบได้รายวิชาที่สูงกว่ารายวิชาที่กำหนดไว้ใน ข้อ 2) มาแล้วในระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าให้ยกเว้นไม่ต้องเรียน(2) กลุ่มวิชาวิทยาการจัดการบังคับเรียน 9 หน่วยกิต3524301 การบัญชีเพื่อการจัดการ 3(3-0)3543101 การบริหารการตลาด 3(3-0)3562307 การบริหารการผลิต 3(3-0)ข้อกำหนดเฉพาะ1) ผู้ที่เรียนแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจในระดับปริญญาตรี (หลังอนุปริญญา) ต้องผ่านการศึกษารายวิชาคอมพิวเตอร์ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต2) ผู้ที่ไม่เคยเรียนรายวิชา 3561101 องค์การและการจัดการ และ 3532202 การภาษีอากรธุรกิจ ให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์กาสำเร็จการศึกษา3) สำหรับผู้ที่เคยสอบได้รายวิชาที่มีเนื้อหาเทียบเท่าหรือเคยสอบได้รายวิชาที่สูงกว่ารายวิชาที่กำหนดไว้ในข้อ 2) มาแล้วในระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าให้ยกเว้นไม่ต้องเรียน4) กรณีที่เคยเรียนรายวิชาบังคับของกลุ่มวิทยาการจัดการมาแล้วในระดับอนุปริญญา ให้เลือกเรียนรายวิชาเลือกในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจที่กำหนดไว้ใน 1.2 แทน(3) กลุ่มวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์และฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 5 หน่วยกิต3503811 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ 2 2(90)3504808 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ 2 3(210)
3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิตให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมเป็นเกณฑ์ในการสำเร็จหลักสูตรของโปรแกรมวิชานี้

การสร้างจดหมายเวียน

วิธีการสร้างจดหมายเวียน
1. เปิดฐานข้อมูล แล้วคลิกแผ่นป้าย ตาราง เลือกตารางที่ต้องการสร้างจดหมายเวียน

2. จากเมนูเครื่องมือ เลือกคำสั่ง เชื่อมโยง Office ( Office Links ) หรือ เลือกจากแถบเครื่องมือ



3. เลือก ผสานเข้ากับ MS Word เป็นการนำข้อมูลจากตารางไปใช้ร่วมกับจดหมายเวียน (Mail Marge) ของไมโครซอฟต์เวิร์ด
4. เลือกวิธีการสร้างแฟ้มเอกสารใหม่ (Create a new document and then link the data to it ) แล้วคลิกปุ่ม OK5. เมื่ออยู่ในโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด ให้พิมพ์ข้อความตามต้องการ
6. หลังข้อความที่ต้องการแทรกข้อมูลในตาราง ให้คลิกปุ่ม แทรกเขตข้อมูลผสาน จะปรากฏเขตข้อมูลให้เลือก7. คลิกไอคอน แสดงข้อมูลผสาน
เพื่อเปลี่ยนไปดูข้อมูลที่ดึงมาจากตาราง
8. ถ้าต้องการเปลี่ยนไปดูระเบียนอื่นๆ ให้คลิกปุ่ม
หรือระบุหมายเลขระเบียนในช่อง
9. ถ้าต้องการพิมพ์จดหมายเวียนให้คลิกที่ไอคอน
10. บันทึกแฟ้มเอกสาร โดยเลือกเมนู แฟ้ม (File) แล้วใช้คำสั่ง บันทึก (Save)
เขียนโดย kreepara.kruepong4934408068 ที่
6:57 ก่อนเที่ยง

10. บันทึกแฟ้มเอกสาร โดยเลือกเมนู แฟ้ม (File) แล้วใช้คำสั่ง บันทึก (Save)
0 ความคิดเห็น: